TIPMSE 

สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดล้อม  หรือ TIPMSE ดำเนินงานภายใต้สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2548 TIPMSE ได้วางเป้าหมายในการสร้างสังคมแห่งการบริโภคอย่างยั่งยืนด้วยแนวทาง Closed Loop Packaging หรือ CLP ซึ่งเป็นแนวทางการจัดการบรรจุภัณฑ์ตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง ด้วยการเชื่อมโยงทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องให้มีส่วนร่วมในการจัดการบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วไม่ให้เป็นภาระต่อสังคม และพัฒนาแนวทางการจัดการบรรจุภัณฑ์ ด้วยหลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิตด้วยหลักการ Extended Producer Responsibility (EPR) เพื่อนำบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วกลับไปเป็นวัตถุดิบในภาคอุตสาหกรรม

TIPMSE

สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดล้อม  หรือ TIPMSE ดำเนินงานภายใต้สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2548 TIPMSE ได้วางเป้าหมายในการสร้างสังคมแห่งการบริโภคอย่างยั่งยืนด้วยแนวทาง Closed Loop Packaging หรือ CLP ซึ่งเป็นแนวทางการจัดการบรรจุภัณฑ์ตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง ด้วยการเชื่อมโยงทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องให้มีส่วนร่วมในการจัดการบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วไม่ให้เป็นภาระต่อสังคม และพัฒนาแนวทางการจัดการบรรจุภัณฑ์ ด้วยหลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิตด้วยหลักการ Extended Producer Responsibility (EPR) เพื่อนำบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วกลับไปเป็นวัตถุดิบในภาคอุตสาหกรรม

“เก็บกลับบรรจุภัณฑ์เพื่อวันที่ยั่งยืน”

“เก็บกลับบรรจุภัณฑ์เพื่อวันที่ยั่งยืน”

TIPMSE

ในปี 2548 รัฐบาล โดยกระทรวงการคลัง มีนโยบาลจะลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากขยะบรรจุภัณท์ โดยการออกกฎหมายภาษีบรรจุภัณท์  ด้วยภาคเอกชนส่วนใหญ่เป็นสมาชิกของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีความเห็นร่วมกันว่า ขยะที่เกิดจากบรรจุภัณท์ สามารถใช้การบริหารจัดการได้โดยไม่จำเป็นต้องออกกฎหมายภาษีบรรจุภัณท์มาบังคับ ซึ่งเป็นการเพิ่มภาระแก่ผู้ผลิตและผู้บริโภค มีตัวอย่างประเทศที่ประสบความสำเร็จ โดยนำวิธีการจัดการมาใช้โดยไม่ออกกฎหมายบังคับ คือประเทศบราซิล ปี 2548 ภาคเอกชนฯ ประกอบด้วย ผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ ผู้ผลิตสินค้า (กลุ่มเครื่องดื่ม) และกลุ่มอุตสาหกรรม จึงรวมตัวกันก่อตั้งสถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดล้อม หรือ TIPMSE (ทิป-เอ็ม-เซ่)

TIPMSE

ในปี 2548 รัฐบาล โดยกระทรวงการคลัง มีนโยบาลจะลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากขยะบรรจุภัณท์ โดยการออกกฎหมายภาษีบรรจุภัณท์  ด้วยภาคเอกชนส่วนใหญ่เป็นสมาชิกของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีความเห็นร่วมกันว่า ขยะที่เกิดจากบรรจุภัณท์ สามารถใช้การบริหารจัดการได้โดยไม่จำเป็นต้องออกกฎหมายภาษีบรรจุภัณท์มาบังคับ ซึ่งเป็นการเพิ่มภาระแก่ผู้ผลิตและผู้บริโภค มีตัวอย่างประเทศที่ประสบความสำเร็จ โดยนำวิธีการจัดการมาใช้โดยไม่ออกกฎหมายบังคับ คือประเทศบราซิล ปี 2548 ภาคเอกชนฯ ประกอบด้วย ผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ ผู้ผลิตสินค้า (กลุ่มเครื่องดื่ม) และกลุ่มอุตสาหกรรม จึงรวมตัวกันก่อตั้งสถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดล้อม หรือ TIPMSE (ทิป-เอ็ม-เซ่)

PackBack in Action ปี 3

รวมพลังเดินหน้า : The Drive for EPR in Thailand และกิจกรรมแสดงเจตจำนงความร่วมมือการขับเคลื่อน EPR

 2 OCT 2024

EPR EP.1 “Introduction EPR”

EPR คืออะไร ทำไมต้อง EPR และผู้ประกอบการ ผู้ผลิตสินค้า และบรรจุภัณฑ์ ต้องเตรียมตัวรับมือ EPR อย่างไร เพื่อพัฒนาธุรกิจสู่ความยั่งยืน

 4 SEP 2024

EPR EP.2 “Design for EPR”

พัฒนาสู่ความยั่งยืนด้านบรรจุภัณฑ์กับ “การปรับตัวของภาคอุตสาหกรรมสู่แนวทาง EPR” เรียนรู้การออกแบบบรรจุภัณฑ์ทั้งในและต่างประเทศ

4 OCT 2024

Extended Producer Responsibility: EPR

Extended Producer Responsibility: EPR

Extended Producer Responsibility: EPR

EPR ?

เป็นเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ที่ภาครัฐพยายามนำมาแก้ปัญหาขยะ โดยมุ่งเป้ามาที่บรรจุภัณฑ์ที่ดูเหมือนจะเป็นสิ่งที่มีเจ้าภาพหรือมีผู้รับผิดชอบที่มีตัวตน ที่ผ่านมา EPR ถูกนำมาพูดถึงอย่างต่อเนื่องกว่า 10 ปี แต่เนื่องจาก EPR เป็นความท้าทายที่ต้องดึงภาคส่วนต่างๆ เข้ามาร่วมขับเคลื่อน เพราะถึงแม้ชื่อของ EPR จะเป็นความรับผิดชอบหลักของผู้ผลิต แต่เพื่อให้กลไกเกิดการขับเคลื่อนได้ภาคส่วนอื่นๆ อย่างผู้กระจายสินค้า ผู้บริโภค ผู้รวบรวม หรือองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นอย่างเทศบาล หรือ อบต.ก็ปฏิเสธที่จะร่วมขับเคลื่อนไม่ได้ เพราะการเดินทางของผู้ผลิตแต่เพียงฝ่ายเดียว ย่อมไม่ประสบความสำเร็จได้อย่างแน่นอน

EPR ?

It is an economic tool that the government has tried to use to solve the waste problem, targeting packaging that seems to have a host or a person who is responsible. In the past, EPR has been talked about continuously for more than 10 years. But because EPR is a challenge that requires various sectors to join in driving it, because even though the name of EPR is the primary responsibility of the producer, in order for the mechanism to be driven, other sectors such as distributors, consumers, collectors, or local administrative organizations such as municipalities or sub-district administrative organizations cannot refuse to join in driving it, because the journey of the producer alone will definitely not be successful.

EPR ?

เป็นเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ที่ภาครัฐพยายามนำมาแก้ปัญหาขยะ โดยมุ่งเป้ามาที่บรรจุภัณฑ์ที่ดูเหมือนจะเป็นสิ่งที่มีเจ้าภาพหรือมีผู้รับผิดชอบที่มีตัวตน ที่ผ่านมา EPR ถูกนำมาพูดถึงอย่างต่อเนื่องกว่า 10 ปี แต่เนื่องจาก EPR เป็นความท้าทายที่ต้องดึงภาคส่วนต่างๆ เข้ามาร่วมขับเคลื่อน เพราะถึงแม้ชื่อของ EPR จะเป็นความรับผิดชอบหลักของผู้ผลิต แต่เพื่อให้กลไกเกิดการขับเคลื่อนได้ภาคส่วนอื่นๆ อย่างผู้กระจายสินค้า ผู้บริโภค ผู้รวบรวม หรือองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นอย่างเทศบาล หรือ อบต.ก็ปฏิเสธที่จะร่วมขับเคลื่อนไม่ได้ เพราะการเดินทางของผู้ผลิตแต่เพียงฝ่ายเดียว ย่อมไม่ประสบความสำเร็จได้อย่างแน่นอน

EPR ?

It is an economic tool that the government has tried to use to solve the waste problem, targeting packaging that seems to have a host or a person who is responsible. In the past, EPR has been talked about continuously for more than 10 years. But because EPR is a challenge that requires various sectors to join in driving it, because even though the name of EPR is the primary responsibility of the producer, in order for the mechanism to be driven, other sectors such as distributors, consumers, collectors, or local administrative organizations such as municipalities or sub-district administrative organizations cannot refuse to join in driving it, because the journey of the producer alone will definitely not be successful.

Contact Us

Thailand Institute of Packaging and Recycling Management for Sustainable Environment (TIPMSE)

Thailand Institute of Packaging and Recycling Management for Sustainable Environment (TIPMSE) 7th Flr, Creative Technology Bldg. 2 Nang Linchi Rd., Thung Maha Mek, Sathon, Bangkok 10120 Thailand

Call Us: 02 345 1000 - 1289,1280

Contact Us

Thailand Institute of Packaging and Recycling Management for Sustainable Environment (TIPMSE)

Thailand Institute of Packaging and Recycling Management for Sustainable Environment (TIPMSE) 7th Flr, Creative Technology Bldg. 2 Nang Linchi Rd., Thung Maha Mek, Sathon, Bangkok 10120 Thailand

Call Us: 02 345 1000 - 1289,1280